วันนี้เราจะพาพ่อแม่ทุกท่าน มาเรียนรู้วิ ธีการสอนลูกให้เป็นเ ด็ กว่านอนสอนง่าย รู้จักเชื่อฟังพ่อแม่ ไม่เป็นเ ด็ กที่ก้าวร้าว ซึ่งพ่อแม่ทุกท่านก็หวังอย ากให้ลูกนั้นเป็นเช่นนั้น ฉนั้นเรามาดูกันว่าพ่อแม่ต้องทำอ ย่ างไร สอนลูกในเรื่องไหนบ้าง พร้อมแล้วเราไปดูกัน
ยิ่งลูกโตขึ้น การหวังลูกให้เป็นเ ด็ กเชื่อฟัง ว่านอนสอนง่าย ยิ่งกล า ยเป็นเรื่องย าก เพราะลูกเริ่มมีความคิดและความต้องการเป็นของตัวเอง บางครั้งลูกสนใจสิ่งที่อยู่ตรงหน้ามากกว่า หรือบางครั้งลูกก็ไม่อย ากคุย ไม่อย ากทำในสิ่งที่พ่อแม่ต้องการ จึงใช้วิ ธีทำหูทวนลม และเพิกเฉยต่อคำพูดของคุณพ่อคุณแม่ และนั่นอาจจะทำให้คุณสติแตกได้
1. สอนให้ลูกใช้ความคิดแก้ปัญหาด้วยตัวเอง
ประโยคคำสั่ง อ ย่ า ไม่ ห้าม ทำให้ลูกรู้สึกว่าตัวเองไม่ได้เรื่อง ทำอะไรก็ไม่ดี โดนห้ามตลอ ด ส่งผลต่อให้ลูกข า ดความเชื่อมั่นในตัวเอง กล า ยเป็นคนไม่มั่นใจกลัวผิ ด และไม่กล้า ที่จะคิดริเริ่มอะไรใหม่ๆ
สิ่งที่ควรทำ ฝึกให้ลูกใช้ความคิดและแก้ปัญหาด้วยตัวเอง ยกตัวอ ย่ างเช่น ไปเก็บของเล่นสิลูก เป็น ไหนลูกลองคิดสิว่า จะเอาตุ๊กต าตัวนี้ไปเก็บไว้ไหนรถของเล่นนี้ล่ะเอาไปไว้ไหนดี นอ กจากนี้ควรหากิจก ร ร มสนุกๆ ทำร่วมกันกับลูก เมื่อคุณพ่อคุณแม่เห็นลูกทำไม่ถูกต้อง จะได้สอนลูกให้คิดแก้ปัญหา และสอ ดแทรกเรื่องของคุณธรรม จริยธรรมเข้าไปได้ด้วย
2. สอนด้วยคำพูด น้ำเ สี ยง และสายต าแห่งความรัก
เมื่อไรก็ต ามที่ลูกทำผิ ด หรือไม่ทำต ามสิ่งที่คุณพ่อคุณแม่บอ ก คุณอาจจะอ ดไม่ได้ที่จะตะคอ กลูกด้วยคำพูดแรงๆ และไม่สนใจฟังในสิ่งที่ลูกอย ากอธิบาย การขึ้นเ สี ยงหรือตะคอ กอาจ ทำให้ลูกสงบลงได้ก็จริง แต่ในอนาคตลูกก็จะทำผิ ดซ้ำอีกอยู่ดี
สิ่งที่ควรทำ เริ่มจากดึงความสนใจของลูกด้วยการ เรียกชื่อลูก ใช้คำพูดง่ายๆ เพื่อให้ลูกทบทวนในสิ่งที่ทำผิ ด และใช้น้ำเ สี ยงที่หนักแน่นแต่ไม่ดุดัน เช่น ถ้าลูกกำลังกินขน มอยู่และมี เศษขน มตกพื้น แทนที่พ่อแม่จะดุที่ลูกทำขน มหกหล่นลงพื้น ลองเปลี่ยนเป็นบอ กทางป้องกันและแก้ปัญหา เช่น ขน มที่หกลงพื้นแล้วลูกต้องเก็บไปทิ้งลงในถังขยะให้เรียบร้อยนะครับ
และคุณแม่คิดว่าลูกควรเอาจาน มารอง เพื่อขน มจะได้ไม่หกลงพื้นต่อไปนอ กจากคำพูดกับน้ำเ สี ยงแล้ว ภาษากายก็มีส่วนสำคัญในการช่วยให้ลูกรับฟังมากขึ้น คุณพ่อคุณแม่ควรย่อตัวให้ สูงเท่าลูก มองลูกด้วยสายต าแห่งรัก และตั้งใจฟังสิ่งที่ลูกพูด
3. ฟังสิ่งที่ลูกต้องการจะบอ ก
บางครั้งสิ่งที่คุณพ่อคุณแม่คิดก็ไม่ได้ถูกต้องเสมอไป เพราะเ ด็ กแต่ละคน มีความคิดเป็นของตัวเอง
สิ่งที่ควรทำ ถามให้รู้ว่าลูกคิดอะไร ทำไปเพราะอะไร มีอะไรอยู่ในใจ และตั้งใจฟังสิ่งที่ลูกพูดเพื่อช่วยให้ลูกผ่ อ นคล า ยความกังวล และค่อยๆ เปลี่ยนความคิดของลูกให้ถูกต้อง
4. สอนด้วยการเป็นแบบอ ย่ างให้ลูกเห็น
เ ด็ กวัย 3-6 ขวบ มักจะลอ กเลียนแบบพฤติก ร ร มของคนใกล้ชิด โดยไม่สามารถแยกแยะได้ควรหรือไม่ควรเลียนแบบพฤติก ร ร มอะไร ทำให้หล า ยครั้งลูกเผลอลอ กเลียนพฤติก ร ร มไม่ดี ของผู้ใหญ่หรือคุณพ่อคุณแม่ เมื่อถูกตำหนิและต่อว่า ลูกจึงไม่เข้าใจว่าา ทำไมคุณพ่อคุณแม่ยังทำได้เลย การทำให้ลูกเกิดความสงสัยโดยไม่ได้รับการอธิบายบ่อยครั้ง เป็นสาเหตุหนึ่ง ที่ทำให้ลูกเริ่มไม่อย ากที่จะเชื่อฟังพ่อแม่อีกต่อไป
สิ่งที่ควรทำ ลูกเรียนรู้จากการกระทำได้ดีกว่าคำพูด ดังนั้นคุณพ่อคุณแม่ต้องเป็นตัวอ ย่ างให้ลูกเห็น มากกว่าการออ กคำสั่งว่าลูกควรทำอะไร หรือห้ามว่าไม่ควรทำอะไร
5. สอนด้วยการมีข้ อตกลงร่วมกัน
เ ด็ กทุกคน มีสิ่งที่ชอบและไม่ชอบของตัวเอง บ่อยครั้งที่คุณพ่อคุณแม่ให้ลูกทำสิ่งที่ไม่ชอบนานจนลูกต่อต้าน
สิ่งที่ควรทำ เ ด็ กวัย 2-3 ขวบ เป็นวัยแห่งการต่อต้าน การให้ข้ อเสนอเพื่อเป็นข้ อตกลงร่วมกัน ลดการโต้เถียงหรือ การชวนทะเลาะลงได้ เช่น ถ้าลูกช่วยแม่เก็บเสื้อผ้าแม่จะเล่านิทาน ให้ฟัง หรือให้ทางเลือ กอื่นที่ไม่ใช่การลงโ ท ษ เช่น ถ้าไม่ทำแม่จะตี เป็น ถ้าช่วยแม่ พ่อ กลับมาเราจะได้กินข้าวกันเร็วขึ้น
6. หาสาเหตุของการไม่เชื่อฟัง
ถ้าลูกเป็นเ ด็ กเชื่อฟังคุณพ่อคุณแม่มาตลอ ด แต่บางครั้งที่ไม่เชื่อฟังอาจเป็นเพราะกำลังโ ก ร ธ เศร้าเ สี ยใจ หรือต้องการให้พ่อแม่เอาใจมากขึ้น เช่น มีน้องเข้ามาเป็นสมาชิกใหม่ในบ้ าน ถูกกลั่นแกล้งหรือล้อเลียนตอนอยู่ที่โรงเรียน
สิ่งที่ควรทำ พูดคุยและหาคำตอบสาเหตุที่ลูกไม่เชื่อฟัง และบอ กรักลูก ให้ลูกเชื่อมั่นว่ามีพ่อแม่อยู่ข้างๆ เสมอ นอ กจากนี้ควรสังเกตทัศนคติ วิ ธีคิด และการพูดของลูก เพื่อที่จะเข้าใจลูกมากขึ้น
7. สอนด้วยการใช้เทคนิคที่เข้าใจง่าย
เ ด็ กอาจจะยังฟังประโยคย าวๆ หรือหล า ยคำสั่งพร้อมกันไม่เข้าใจ
สิ่งที่ควรทำ ใช้เทคนิคสอนให้ลูกจำง่ายขึ้น ยกตัวอ ย่ างเช่น มีมือเอาไว้ช่วยเหลือ ไม่ใช่เพื่อเอาไว้ตี หรือ พูดให้ตื่นเต้นเร้าใจ เช่น วันนี้ทำอะไรที่โรงเรียนบ้ างเปลี่ยนเป็น เล่าให้ฟังหน่อยวันนี้ทำอะไรสนุกสุด และหลีกเลี่ยงคำว่า ไม่ หรือ ห้าม เพราะทำให้ลูกไม่อย ากทำต าม เช่น ห้ามดื้อ เปลี่ยนเป็น แม่ชอบลูกตอนที่เชื่อฟังแม่ที่สุดเลย นอ กจากนี้คุณพ่อคุณแม่อาจเปลี่ยน มาใช้การให้คะแนนหรือสติ๊กเกอร์ เพื่อให้ลูกมีเป้าหมายในการเชื่อฟังคุณมากขึ้น
8. ไม่ใช้อารมณ์หรือเพิกเฉยความต้องการของลูก
เ ด็ กวัย 2-3 ขวบ ยังไม่สามารถฟังและทำต ามคำสั่งหล า ยอ ย่ างในเวลาเดียวกันได้ จนทำให้พ่อแม่ใช้อารมณ์กับลูกหรือไม่สนใจลูกเลย
สิ่งที่ควรทำ คอยจับสังเกตว่าลูกต้องการสื่อส า รอะไร อาจใช้วิ ธีถามซ้ำๆ เพื่อยืนยันในสิ่งที่ลูกทำ รวมถึงเมื่อต้องการให้ลูกทำอะไร พ่อแม่ควรพูดกับลูกให้ชัดเจนสั้น และกระชับใจความ
ที่มา a b o u t m o m fahhsai