วิ ธีเก็บเ งิ นของคนเ งิ นเดือนน้อย

ความใฝ่ฝันของมนุษย์เ งิ นเดือนส่วนใหญ่ก็คือ การมีเ งิ นเก็บสักก้อนหนึ่งไว้เพื่ออนาคตหรือไม่ก็เพื่อความตั้งใจบางอ ย่ าง แต่ก็ต้องยอมรับว่าไม่ใช่ทุกคนที่จะสามารถเก็บเ งิ นได้คราวละมาก ๆ เสมอไป เ พ ร า ะเ งิ นเดือนที่ได้รับมาในแต่ละเดือนก็ไม่มากพอที่จะแบ่งเก็บได้มากขนาดนั้น หรือบางเดือนแทบชักหน้าไม่ถึงหลังเลยก็มี

เ งิ นเดือนน้อย ถ้ามีวิ ธีคิดที่ดีก็ออม ได้เหมือนกันนะ หากใครเป็นคนร ายได้น้อยแล้วต้องการที่จะมีเ งิ นออม เหมือนคนอื่นเขาล่ะก็ เพียงทำต ามวิ ธีเหล่านี้ก็สามารถมีเ งิ นออมได้เหมือนกัน แต่อ ย่ างไรซะ ก็ต้องยอมรับว่า ไม่ใช่ทุกคนที่จะเก็บเ งิ นได้ออมเ งิ นได้เ พ ร า ะเ งิ นเดือนที่ได้รับมา ในแต่ละเดือนนั้น ก็ไม่มากพอที่จะแบ่ งเก็บแล้วใช้จ่ายค่าต่างๆ มันก็หมดแล้วและบางเดือนนั้น ก็แทบไม่พอเลยก็มี

ขอบอ กเลยว่า สิ่งเหล่านี้นั้น มันไม่ใช่ปัญหาสำหรับการออมหรอ กนะ เ พ ร า ะทุกอ ย่ างนั้น มันขึ้นอยู่กับตัวของเราเองนั่นแหละว่าจัดการอ ย่ างไร มีวินัยแค่ไหน หากเรารู้วิ ธี แม้ว่าเ งิ นเดือนจะน้อยก็สามารถออมได้ และยังทำให้เ งิ น มีใช้ อ ย่ างพอเพียงอีกด้วย และจะต้องทำอ ย่ างไร ไปดูกัน

1. หาร า ยได้เสริม

เ พ ร า ะแม้เราจะเป็น มนุษย์เ งิ นเดือน ที่ได้เ งิ นเดือนน้อย แต่อ ย่ างไรซะ หากมองหาช่องทางทำร า ยได้เสริม ก็สามารถมีเ งิ นเก็บได้เหมือนคนอื่นเขานะ ฉะนั้น ลองมองหาช่องทางเสริม ที่ตัวเองสามารถทำได้ แบบที่มันไม่กระทบกับงานหลักที่เราทำอยู่ และซึ่งอาชีพเสริม ที่มนุษย์เ งิ นเดือนอ ย่ างเราๆ สามารถทำได้นั้น มันก็มีหลากหล า ย อ ย่ างเช่น ข า ยข้าวกล่อง ข า ยเสื้อผ้าออนไลน์ หลังเลิกงานเอาที่เราทำแล้วชอบก็ได้หรือเราถนัด แบบนั้นจะไปได้ดี

2. ทุกร า ยรับ-ร า ยจ่าย จดเอาไว้

ก็เ พ ร า ะหารอยรั่ว การควบคุมค่าใช้จ่ายที่ดีที่สุด ก็คือ การทำบันทึก ร า ยรับ-ร า ยจ่ายนี่แหละ เ พ ร า ะไม่ว่าจะมีร า ยรับ หรือร า ยจ่ายอะไรแค่ไหนก็ต้องบันทึกเสมอ เราจะได้รู้ว่าในแต่ละเราได้เ งิ น มาใช้จ่ายไปกับเรื่องอะไร อันไหนจำเป็นหรือจ่ายฟุ่มเฟือย พอเรารู้แล้ว ให้อุ ดรอยรั่ วตรงนั้นไปด้วยการลดค่าใช้จ่าย ที่ไม่จำเป็นประหยัดในสิ่งที่ควรประหยัด จากนั้นเราก็จะออมได้ง่ายขึ้น

3. สร้างกฎเล็ก ๆ ขึ้น มา

มันก็เป็นอีกวิ ธีหนึ่ง ที่จะช่วยให้เรา เก็บเ งิ นได้ เช่น

ทุกครั้ง ที่ได้ธนบัตรใบละ 50 ก็ให้เราเก็บไว้

ออมเพิ่มอีก 20 เปอร์เซน จากค่าใช้จ่ายฟุ่มเฟือย ที่ใช้ไป

แบ่งเ งิ นไว้ใช้เป็นถุง ๆ เ พ ร า ะจะต้องใช้ในแต่ละวัน

เหลือเศษเหรียญกี่บ า ท ในแต่ละวัน ก็ให้หยอ ดกระปุกไว้

4. แบ่งออมไปเลยตอนนั้น เมื่อได้รับเ งิ นเดือน

เ พ ร า ะหากคิดว่า ในระหว่างเดือนนั้นๆ จะไม่สามารถเก็บเ งิ น ได้ละก็แนะนำให้ออมก่อนใช้จะเหมาะกว่า คือหั กเ งิ นเพื่อเก็บไปเลย ในตอนที่ได้รับเ งิ นเดือน มา มันจะช่วยให้เราเก็บเ งิ นได้อ ย่ างสม่ำเสมอ ในทุกๆ เดือนและ นอ กจากนี้ ก็ยังควรตั้งกฎให้ตัวเอง ไว้ว่าไม่ว่าจะเกิดอะไรขึ้น ก็ไม่ต้องนำเ งิ นเหล่านี้มาใช้เว้นแต่ว่ากรณี ฉุกเฉินจริงๆ นั่นแหละและสำหรับตัวเลข ที่เหมาะสม อาจจะเริ่มแบ่งเ งิ นไว้ออมสัก 10 เปอร์เซน ของเ งิ นเดือน

เมื่อเราควบคุมค่าใช้จ่ายตัวเอง ได้ดีแล้วจากนั้นก็ค่อย ๆ เพิ่มขึ้นไปเรื่อย ๆ แต่ก็อ ย่ าให้มาก จนตัวเองต้องลำบาก กับเ งิ นที่ต้องใช้ในแต่ละเดือนเ พ ร า ะหากเ งิ นในแต่ละเดือน ไม่พอใช้อีกเนี่ย สุดท้ายก็ต้องกลับมาวนลูปแบบเดิมอีก

5. ตั้งเป้าห ม า ย แล้วไปให้ถึง

แม้เ งิ นเดือนน้อยหากใช้การตั้งเป้าห ม า ย ในการออมเ งิ นไปด้วย ก็จะช่วยให้คุณมีวินัย ในการใช้เ งิ นโดยอาจจะลอง ตั้งเป้าห ม า ย มีเ งิ นเก็บเท่านั้นเท่านี้ ในเวลากี่ปีก็ว่าไป และใช้เป้าห ม า ยนั้นพาตัวเองไปให้ถึงซะ เช่น อย ากมีเ งิ นแสนใน 2 ปี และมันจะทำให้คุณมีกำลังใจในการออมต่อไป เ พ ร า ะคุณมีเป้าห ม า ยไง แต่อ ย่ าให้กล า ยเป็นความกดดันล่ะหากเกิดปัญหาเ งิ นไม่พอขึ้น มา ที่ตั้งเป้าเอาไว้นั้น อาจพังไม่เป็นท่า

เท่านี้ ก็สามารถช่วยให้คุณมีวินัย และยังทำให้เรามองเห็นเ งิ นออมได้ชัดมากขึ้น

ที่มา m o n e y.k a p o o k  yindeeyindee

Related posts