ปัญหาครอบครัวอ ย่ างหนึ่งของคู่แต่งงานที่มีลูกน้อย คือ การเลี้ยงลูกอ ย่ างต ามใจจนเกินไป ทำให้เ ด็ กที่ถูกต ามใจจากพ่อแม่กล า ยเป็นเ ด็ กสปอยล์ หรือเรียกได้ว่าการที่พ่อแม่ สปอยล์ลูก (Spoil) คือ การทำให้เ ด็ กเ สี ยคน หรือต ามใจลูกจนเกินไปนั่นเอง คุณพ่อคุณแม่อาจมองว่าเป็นเรื่องเล็กน้อยแต่จะส่งผลร้ า ย ต่อเ ด็ กได้ในอนาคต วันนี้เราขอพาส่องว่ามีพฤติก ร ร มแบบไหนบ้างที่พ่อแม่ รั ง แ กฉัน ทำร้ า ยลูกน้อยแบบไม่รู้ตัว
พฤติก ร ร มพ่อแม่แบบไหนที่เข้าข่าย สปอยล์ลูก
1.ต ามใจลูกมากเกินไป
ต ามใจในที่นี้คือ การปล่อยให้ลูกอย ากทำอะไรก็ทำ โดยไม่คำนึงถึงความถูกต้อง ทั้ง ๆ ที่รู้ว่าหากปล่อยลูกให้ทำแบบนี้เป็นสิ่งที่ไม่ดี ก็ยังต ามใจลูกให้ทำและไม่สอนลูกในสิ่งที่ควรหรือไม่ควรทำ โดยคิดว่าเมื่อโตขึ้นลูกจะเรียนรู้ถูกผิ ดได้เอง ซึ่งความคิดในการเลี้ยงลูกด้วยวิ ธีนี้เป็นสิ่งที่จะทำให้ลูกติดนิสัยไปจนโตได้ เ พ ร าะ เ ด็ กยังไม่รู้จักการแยกแยะด้วยตนเอง ดังนั้นพ่อแม่จึงไม่ควรปล่อยลูก ให้หรือต ามใจลูกจนเกินพอ ดี และควรจะเป็นฝ่ายที่สอนลูกก่อนจะสายเกินไป
2.เข้มงวดกับลูกเกินพอ ดี
หากคุณใช้วิ ธีการเลี้ยงลูกแบบเข้มงวดมากเกินไป ก็อาจจะทำให้ลูกกล า ยเป็นเ ด็ กขี้กลัว ไม่กล้าตัดสินใจอะไรเอง ไม่มีความมั่นใจในตัวเอง เ พ ร าะ อะไรที่มัน มากเกินไปผลลัพธ์ที่ได้มักจะไม่ดีเสมอ ดังนั้นถ้าไม่อย ากให้ลูกกล า ยเป็นเ ด็ กมีปัญหา ลองปล่อยให้ลูกได้มีความคิดในการตัดสินใจและได้ทำอะไรด้วยตัวเองดูบ้าง
3.เอาใจเกินพอ ดี
เอาใจเกินพอ ดีตอบสนองลูกด้วยการให้มากเกินไปทั้งวัตถุและสิ่งของ เ พ ร าะ หวังจะให้ลูกมีความสุข แต่กล า ยเป็นว่าสิ่งที่พ่อแม่นั้น กลับส่งเสริมให้ลูกไม่รู้จักพอ ไม่รู้จักความย ากลำบาก และการ อ ดทนรอคอย ไม่ยอมรับกับความผิ ดหวัง ไม่เห็นคุณค่าของสิ่งที่ได้มา กล า ยเป็นเ ด็ กเอาแต่ใจตัวเอง และสุดท้ายลูกก็จะไม่มองเห็นคุณค่าของคนอื่นด้วย การสปอยล์ลูกแบบนี้จะส่งผลให้ลูก อยู่ย ากในสังคมเมื่อเขาเติบโตขึ้น
4.แสดงพฤติก ร ร มแย่ ๆ ให้ลูกเห็น
เ ด็ กเล็ก ๆ มักจะมีพฤติก ร ร มการลอ กเลียนแบบคนใกล้ตัว ดังนั้นถ้าพ่อแม่ทำไม่ดีต่อหน้าลูก ก็จะทำให้ลูกเลียนแบบนิสัยไม่ดีของพ่อแม่ไปได้ ดังนั้นไม่ว่าจะเป็นคำพูดหรือ การแสดงออ กหากไม่ อย ากให้ลูกทำไม่ดี ก็ไม่ควรทำให้ไม่ว่าจะอยู่ต่อหน้าหรือลับหลังลูก เช่น ห้ามลูกไม่ให้กินขน มกรุบกรอบ แต่คุณก็ชอบซื้อขน มเหล่านั้น มากินเอง หรือ การเผลอพูดคำห ย า บที่อาจเป็นคำอุทาน เมื่อลูกได้ยินบ่อย ๆ ก็อาจนำคำพูดที่คุณใช้บ่อย ๆ มาพูดได้ เป็นต้น
5.ลงโ ท ษลูกหนักเกินไป
เชื่อว่าพ่อแม่ทุกคนอย ากให้ลูกเติบโตมาเป็นคนที่ดีของสังคม เ ด็ ก ๆ ควรได้รับการลงโ ท ษเมื่อทำผิ ดเป็นเรื่องที่ถูกต้องแล้ว แต่วิ ธีการลงโ ท ษ ก็ควรเหมาะสมกับความผิ ดของลูกด้วย เ พ ร าะ บางครั้งลูกอาจทำผิ ดด้วยความไม่รู้ จึงไม่จำเป็นต้องลงโ ท ษทุกครั้ง แต่เริ่มต้นลูกด้วยการตักเตือน อธิบายให้ลูกเข้าใจถึงความผิ ด และถ้าหลังจากนั้นลูกยังดื้อทำผิ ดซ้ำ ๆ ก็ควรหาวิ ธีลงโ ท ษ ลูกด้วยความเหมาะสมกับวัยหรือความผิ ด โดยหลีกเลี่ยงการใช้ความรุ น แ ร ง
6.ให้ท้ายลูก ให้อภั ยลูกแบบผิ ด ๆ
คุณพ่อคุณแม่ควรเลิกคำพูดติดปากว่า เขายังเ ด็ ก อ ย่ าถือสาเ ด็ กเลย เพื่อปกป้องเวลาลูกทำผิ ดโดยไม่สนใจเหตุผล ควรสอนให้ลูกทราบถึงเหตุผลและยอมรับความจริง หากทำผิ ดต้อง ขอโ ท ษและไม่ทำผิ ดซ้ำอีก เ พ ร าะ ยิ่งถ้าสอนลูกตั้งแต่ยังเล็กจะง่ายกว่าสอนตอนเ ด็ กโตแล้ว นอ กจากนี้คุณพ่อคุณแม่ควรพูดและปฏิบัติกับลูกในมาตรการที่ตรงกัน เพื่อไม่ให้เ ด็ กเกิดความสับสน อาการของเ ด็ กเมื่อถูกสปอยล์มากเกินไป
อารมณ์ร้อนเกรี้ยวกราดบ่อยครั้ง ลูกมักแสดงอาการฉุนเฉียว กรีดร้อง โ มโ หร้ า ยอยู่บ่อยครั้ง
กระทืบเท้า ปิดประตูเ สี ยงดัง ลูกมีอารมณ์โ มโ หร้ า ยอยู่บ่อยครั้ง ระบายอารมณ์ผ่านทางการทำล า ยข้าวของต่าง ๆ
ต้องมีข้ อแลกเปลี่ยนเสมอ เมื่อคุณพ่อคุณแม่ต้องการให้ลูกทำอะไร มักสร้างเงื่อนไขเพื่อเป็นแรงจูงใจให้ลูกปฏิบัติต าม แต่หากทำบ่อยครั้งอาจไม่เป็นผลดีต่อเ ด็ กค่ะ เ พ ร าะ ต้องสอนให้ลูกรู้จัก หน้าที่ มีระเบียบวินัยและสิ่งที่ต้องทำ
หวงของ ควรสอนให้รู้จักแบ่งปันสิ่งต่าง ๆ จะช่วยพัฒนาทักษะทางด้านอารมณ์และจิตใจ เอาแต่ใจจะค่อย ๆ ดีขึ้นต ามลำดับ
คำแนะนำ ที่ช่วยให้เลี้ยงดูเ ด็ กแบบไม่ สปอยล์ลูก
กำหนดขอบเขตที่เหมาะสมกับวัยของลูกเพื่อให้เ ด็ ก ๆ ใช้ชีวิตได้อ ย่ างเต็มที่ โดยคุณพ่อคุณแม่สามารถเริ่มได้ตั้งแต่ในช่วงวัยเตาะแตะ
กำหนดขอบเขตด้านความปลอ ดภั ยภายนอ ก ตัวอ ย่ างเช่น: อ ย่ าแตะต้องเตาร้อน และ อ ย่ าวิ่งเข้าไปในถนน ถ่ายทอ ดสิ่งที่เป็นที่ควรทำและไม่ควรทำ พูดคุยถึงเหตุผล บอ กถึงปัญหาที่จะ ต ามมาหากทำสิ่งนั้น และ เสริมสร้างพฤติก ร ร มทางสังคมเชิงบวกในลักษณะเดียวกัน สั่งสอนลูกถึงสิ่งที่ควรปฏิบัติ เช่น กล่าวขอโ ท ษและขอบคุณ หรือเล่นอ ย่ างอ่อนโยนกับเพื่อน ควรหมั่นเสริม
สร้างพฤติก ร ร มเชิงบวกให้ลูก มากกว่าพฤติก ร ร มเชิงลบ
พูดคุยกับลูกอ ย่ างเปิดเผย และมีเหตุมีผล เกี่ยวกับพฤติก ร ร มเมื่อพวกเขาโตขึ้น เ ด็ กในวัยเรียนและวัยรุ่นสามารถเข้าใจคำพูดได้ดีกว่าเ ด็ กเล็ก ดังนั้นให้พย าย ามคิดพูดคุยปัญหาร่วมกัน เช่น
เมื่อลูกทำผิ ดให้คุณพ่อคุณแม่ถามลูกว่า ทำไมลูกถึงทำเช่นนี้ เ ด็ กอาจไม่สามารถบอ กคุณได้ แต่ถ้าพูดว่า พ่อ/แม่สงสัยว่าทำไมสิ่งนี้ถึงเกิดขึ้นอีก คำถามปล า ยเปิดอาจทำให้ลูกรู้สึกสะดวกใจ และเล่าให้ฟังอ ย่ างไม่เกร็งได้ คำตอบของลูกในบางครั้งอาจทำให้คุณพ่อคุณแม่แปลกใจก็เป็นได้
อยู่ในความสงบ ระงับสติอารมณ์ เมื่ออารมณ์เ สี ย แม้แต่ผู้ใหญ่เองก็อาจแสดงพฤติก ร ร มที่ไม่ดีออ กมา จะทำให้คุณพ่อคุณแม่รู้สึกแย่และควบคุมตัวเองไม่ได้ (เหมือนเ ด็ กนิสัยเ สี ย) และการแสดง พฤติก ร ร มไม่ดีเหล่านี้ ไม่ได้สอนให้เ ด็ กมีพฤติก ร ร มดีขึ้น แถมอาจทำให้เกิดพฤติก ร ร มเลียนแบบอีกด้วย
คงเส้นคงวา เป็นตัวอ ย่ างที่ดีให้ลูกอ ย่ างสม่ำเสมอ
มีกฎระเบียบร่วมกันที่ดี เพื่อให้อยู่ร่วมกันอ ย่ างสงบสุขครอบครัวคือจุดเริ่มต้นของสังคม จึงควรมีกฎที่อยู่ในข้ อตกลงร่วมกัน เพื่อให้ลูกปฏิบัติต าม และแจ้งให้ทราบว่าถ้าลูกไม่ปฏิบัติต ามจะมีผล
ต ามมาสำหรับพฤติก ร ร มบางอ ย่ าง เช่น ถ้าลูกเล่นของเล่นแล้วไม่เก็บ แม่จะเก็บของนี้แล้วไม่ให้เล่นอีกนะ หรือวางของเกะกะอาจทำให้เกิดอุบัติเหตุได้ เป็นต้น สิ่งที่ดีที่สุดสำหรับการปลูกฝังนิสัย ที่ดีให้ลูก คือ การเริ่มต้นแต่เนิ่น ๆ และทำอ ย่ างสม่ำเสมอเพื่อ กำหนดขีดจำกัด ทำความเข้าใจความต้องการด้านพัฒนาการของทารกและเ ด็ กเล็ก อาจจะต้องใช้เวลาแต่จะเกิดผลดีต่อตัวเ ด็ กในระยะย าว
แน่นอนว่าการเลี้ยงลูกด้วยวิ ธีแบบนี้ย่อมไม่ส่งผลดีทั้งต่อตัวลูกและพ่อแม่ การสปอยลูกมากเกินไปอาจทำให้เ ด็ กโตขึ้นเห็นแต่ประโยชน์ของตนเองและไม่คำนึงถึงความรู้สึกของคนอื่นหรือประโยชน์ ของสังคมส่วนรวม ดังนั้น ถ้าพ่อแม่อย ากเลี้ยงลูกแบบมีคุณภาพ ลองมองดูว่าตัวเองเข้าข่ายพฤติก ร ร มเหล่านี้หรือไม่ ควรหยุดสปอย์ลูกแบบไม่มีเหตุผล และหาวิ ธีเลี้ยงลูกอ ย่ างถูกหลักก่อนที่ จะสายเกินแก้ และเพื่อให้ลูกได้เติบโตมาเป็นคนดี มีคนที่รัก อยู่ในสังคมที่เขาจะเติบโตขึ้น มาได้อ ย่ างมีความสุขนะคะ
ที่มา t h.t h e a s i a n p a r e n t. fahhsai