ใกล้สิ้นเดือนแล้ว เ งินเดือนก็ใกล้จะออ กแล้ว หล า ยคนเป็นโ ร คท รั พ ย์จาง ตั้งแต่ช่วงกลางเดือน นั่นอาจเป็นเพราะยังบริหารเงิ นเดือนได้ไม่ดีเท่าที่ควร หากปล่อยไว้คงไม่ดีแน่เราจึงมี 7 วิ ธีบริหารเงิ น มาแนะนำ เพื่อที่เดือนหน้า จะได้ไม่ต้องอ ดมีพอ กินพอใช้และเหลือออม
1.บันทึกร า ยรับร า ยจ่าย
การควบคุมการใช้เงิ นที่ดีที่สุด ก็คือบันทึกการใช้เ งินของตนเอง ซึ่งประโยชน์จากการเขียน ร า ยรับร า ยจ่ายทุกวัน จะทำให้เรารู้ร า ยละเอียด การใช้เงิ นในแต่ละวันว่า มีเงิ นในกระเป๋าอยู่เท่าไหร่ หยิบใช้ได้มากน้อยแค่ไหน เมื่อใช้จ่ายไปแล้ว เหลือเท่าไหร่อีกทั้งยังทำให้เรา เห็นร า ยจ่ายส่วนเกินได้ง่าย จึงช่วยให้ตัดค่าใช้จ่ายที่เกินความจำเป็นทิ้งได้ง่ายขึ้นต ามไปด้วย
2.ใช้จ่ายอ ย่ างรู้ตัว
ถ้าของมันต้องมี คงไม่ดีถ้าไม่ซื้ อความอย ากได้ อย ากมี อย ากกิน อย ากซื้ อ ที่เกินความจำเป็น ในชีวิตเรานั้น มีกันทุกคน ดังนั้นเราสามารถ ซื้ อทุกอ ย่ างที่ต้องการได้ตราบเท่าที่มี เ งินจ่าย แต่ต้องยึดกฎเหล็กว่า จะต้องไม่สร้างห นี้และไม่ไปดึงเ งินก้อนอื่น ที่แบ่งไว้แล้วก่อนหน้านี้มาใช้
3.นำไปล ง ทุ น
การล ง ทุ นที่ดี คือ การทำให้เงิ นที่นอนอยู่นิ่งๆ ไปทำให้งอ กเงย ซึ่งเราสามารถนำเงิ นไปล ง ทุ นได้ ต ามรูปแบบที่สนใจ และเหมาะสมกับร า ยรับร า ยจ่าย อ ย่ างไรก็ต ามทุกการล ง ทุ น มีความเสี่ยง จึงจำเป็นอ ย่ างยิ่ง ที่จะต้องศึกษาวิ ธีการล ง ทุ น ให้เข้าใจเป็นอ ย่ างดีและเลือ กปรึกษาคนที่ไว้ใจได้เท่านั้น
4.แบ่งเงิ นทันที
ทันทีที่เ งินออ ก สิ่งแรกที่ต้องทำคือ จัดสรรเ งินให้เป็นก้อนๆ ก้อนหนึ่งไว้ใช้จ่ายทั่วไป ในชีวิตประจำวัน ก้อนหนึ่งใช้ห นี้ อีกก้อนหนึ่งไว้ให้รางวัลตัวเอง และต้องไม่ลืมแบ่งอีกก้อนเป็นเงิ น ออมไว้เผื่ออนาคตด้วย ซึ่งการจัดสรรเ งินนี้ สามารถประยุกต์ได้ต ามร า ยรับร า ยจ่ายของแต่ละคน
5.ออมให้เป็นนิสัย
ไม่จำเป็นต้องอ ดทุกความสุข หมดสนุกกับทุกอ ย่ าง เพราะเราวางแผนเองได้ว่า จะออมเท่าไหร่ จะใช้วิ ธีออมทีละนิด อ ย่ างสม่ำเสมอ หรือจะเข้มงวดต ามสูตรออมขั้นต่ำร้อยละ 10 ของร า ยรับ ก็ได้แต่อ ย่ าละเลยการออมเ งิน เพราะเงิ นส่วนนี้นี่แหละ ที่จะช่วยให้อยู่รอ ดในย ามคับขัน รวมถึงเป็นเงิ นสำหรับใช้จ่ายในอนาคต
ต ามหลักแล้วเราควรมีเงิ นสำรองไว้ใช้ในกรณีฉุกเฉิน อ ย่ างน้อย 3 เดือน เมื่อเกิดเหตุไม่คาดฝันขึ้น ก็ยังมีเงิ นใช้และหากบริษัทมีสวัสดิการให้พนักงานเป็นกองทุน สำรองเลี้ยงชีพด้วยก็ยิ่งดี ซึ่งจะช่วยให้การออมเ งินของเรานั้นง่ายขึ้นหากเกิด กรณีที่จำเป็นต้องใช้เ งิน หรือเกษียณงานไปแล้ว ก็มั่นใจได้ว่ามีเงิ นก้อนให้ใช้แน่นอน
6.บริหารการชำระห นี้
ห นี้ที่ว่าคือค่าบ้านค่ารถ ค่าบัตรเครดิต และอีกส า รพัด ห นี้การวางแผน จ่ายห นี้จะช่วยให้การเงิ น ไม่ข า ดสภาพคล่อง เช่น ชำระห นี้ให้ตรงเวลา เพื่อที่จะได้ไม่ต้องเ สี ยดอ กเบี้ยและ ค่าต ามทวงห นี้ ชำระห นี้ร า ยเดือน ให้ได้จำนวนเงิ นขั้นต่ำเป็นอ ย่ างน้อย ถ้ายังมีเงิ นเหลือก็โปะห นี้ให้มากหน่อย เพื่อลดเงิ นต้นหรือถ้าฝืดเคืองจริงๆควรเลือ กจ่ายห นี้ที่มีด อ กเบี้ยสูงก่อน เพื่อตัดวงจรดอ กเบี้ยบานปล า ย
7.รั ก ษ าสถานภาพทางการเงิ น
การบริหารเงิ นจะต้องมีวินัย และปฏิบัติต่อเนื่องอ ย่ างเคร่งครัด ถ้าเริ่มทำได้เป็นระบบ อยู่ตัวแล้วก็ต้องรั ก ษ าสถานภาพ ทางการเงิ นไว้ให้ได้ ต ามมาตรฐาน ในตอนแรกด้วยทั้งนี้อ ย่ าลืมแผน สำรองสำหรับปรับการใช้เ งินให้ยืดหยุ่น ต ามสถานการณ์ด้วยเพียงเท่านี้ สภาพการเงิ น ก็จะคล่องตัวและมีความมั่นคงในระยะย าว
ที่มา tonkit360 stand-smiling